หลัก ธรรม ใน การ พัฒนา ตนเอง

อริยสัจ ๔ หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการในการดำเนินชีวิตของบุคคลหรือการบริการกิจการต่าง ๆ มักจะประสบกับปัญหา และอุปสรรคนานาประการ ซึ่งถ้ามีหลักธรรมต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้วเป็นหลักยึดเพื่อการประพฤติปฏิบัติบุคคลผู้นั้นก็ย่อมจะผ่านอุปสรรคต่าง ๆ ไปได้ และประสบความสำเร็จในท้ายที่สุด สาระสำคัญยิ่งของอริยสัจ ๔ มีดังนี้ ๓. ๑ ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุนานาประการ ๓. ๒ สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ซึ่งเกิดจากตัณหาทั้งหลาย ๓. ๓ นิโรธ คือ ความดับทุกข์ โดยการดับตัณหาให้หมดจะเป็นภาวะที่ปลอดทุกข์ ๓. ๔ มรรค คือ วิถีทางในการดับทุกข์ ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่าง ๆ ที่ทำให้ทุกข์หมดไป ๔. สังควัตถุ ๔ เป็นธรรมที่เสริมสร้างเสน่ห์ให้แก่ตนเอง ทำให้เป็นที่รักของคนทั่วไป ช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีส่วนช่วยในการดำเนินงาน บรรลุจุดมุ่งหมายตามที่ต้องการ สังควัตถุมี ๔ ประการคือ ๔. ๑ ทาน คือ การให้ ซึ่งต้องมาจากจิตใจที่มีความเอื้อเฟือเผื่อแผ่ ๔. ๒ ปิยวาจา คือ การพูดจาที่น่ารัก น่านิยมยกย่อง พูดด้วยวาจาสุภาพ ๔. ๓ อัตถจริยา คือ การบำเพ็ญประโยชน์หรือทำประโยชน์แก่บุคคลอื่น ๆ ๔. ๔ สมานัตถตา คือ การวางตนให้เหมาะสม วางตนเสมอต้นเสมอปลายมีกิริยาอัธยาศัยเหมาะสมกับฐานะหรือตำแหน่งหน้าที่การงาน ๕.

การพัฒนาตนเองตามแนวทาง พระพุทธศาสนา ~ การพัฒนาตนเอง

การพัฒนาตนเองให้ประสบความสำเร็จต้องมีคุณธรรมในการดำเนินชีวิต ในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้เป็นคนดี และประสบผลสำเร็จในชีวิต จะต้องยึดหลักธรรมของศาสนาเป็นหลักนำมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ดังนี้ 1. ความซื่อสัตย์ สุจริตและจริงใจต่อตนเอง 2. ความรู้จักพอดี ไม่เห็นแก่ตัว 3. การแสวงหาความรู้ทั้งทางโลกและทางธรรม 4. ความขยัน ต้องมีใจรักที่จะทำงานให้สำเร็จ 5. การอยู่ร่วมกันในครอบครัว

เป็นผู้มีความเพียร ๗. เป็นผู้มีสมาธิ มีจิตใจมั่นคง ๘.

บทที่ 6 หลักธรรมเพื่อพัฒนาคน พัฒนางานและสังคม - aujutarat

  • แปล resume ไทย เป็น อังกฤษ
  • ธรรมะในการบริหารตนเอง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต - กลยุทธ์การบริหารตนเอง
  • Covent garden market สาม ย่าน july
  • ภาพ กรม พระยา ดำรง ราชา นุ ภาพ
  • รอยัล เอนฟิลด์ “อินเตอร์เซปเตอร์ 650” คว้ารางวัลรถจักรยานยนต์ยอดเยี่ยมแห่งปีในประเทศไทย - AutoFreestyle
  • แอ พ บ ลู ทู ธ pc
  • ดู หนัง มู่ หลาน ออนไลน์
  • พลอย ส ตา ร์ บาง กะ จะ pdf
  • กลุ่มผู้กล้าสมุทรปราการ ทนไม่ไหว แรลลี่ไล่ประยุทธ์ ทวงวัคซีนที่ดีและฟรี จากภาษีปชช.
  • ประกวด นางงาม miss universe 2018
  • Convolutional neural network ภาษา ไทย
  • หัว lnb ku band ราคา new

1 หิริ 1. 2 โอตตัปปะ ๒. สังคหวัตถุ ๔ สังคหวัตถุ แปลว่า หลักการสงเคราะห์ ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว คือ ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนและประสานหมู่คณะไว้สามัคคี 2. 1 ทาน 2. 2 ปิยวาจา 2. 3 อัตถจริยา 2. 4 สมานัตตตา ๓. พรหมวิหาร๔ พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ ธรรมประจำใจอันประเสริฐ ธรรมประจำใจของผู้ประเสริฐ หลักความประพฤติที่ประเสริฐบริสุทธิ์ธรรมที่ต้องมีไว้เป็นหลักใจและกำหับความแระพฤติจึงจะชื่อว่าดำเนินชีวิตหมดจด และปฏิบัติตนต่อมนุษย์สัตว์ทั้งหลายโดยชอบ อันจะนำมาซึ่งความสุขสงบ และสันติ ตลอดถึงมีความรักความผูกพันกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันและกัน มีหลักการสำคัญ๔ประการ ดังนี้ 3. 1 เมตตา 3. 2 กรุณา 3. 3 มุทิตา 3. 4 อุเบกขา ๔. อคติ ๔ อคติ หมายถึง ความอำเอียง ความไม่เที่ยงธรรม ท่งความประพฤติที่ผิด 4. 1 ฉันทาคติ 4. 2 โทสาคติ 4. 3 โมหาคติ 4. 4 ภยาคติ ๕. ฆราวาสธรรม ๔ ฆราวาสธรรม หมายถึง ธรรมสำหรับฆราวาส ธรรมสำหรับผู้เรือน ธรรมสำหรับชาวบ้าน หรือ หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ (ชาวบ้าน) 5. 1 สัจจะ 5. 2 ทมะ 5. 3 ขันติ 5. 4 จาคะ ๖. มิตรแท้ ๔ มิตรแท้ หมายถึง มิตรมีใจดีต่อกัน มิตรที่จริงใจต่อกันทั้งต่อหน้าและลับ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม สมาชิกในสังคมต้องแสดงออกถึงความเป็นมิตรแท้ต่อกัน ไม่หน้าไหว้หลังหลอก หรือคบหาสมาคม เพียงเพราะผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งเพราะถ้าสมาชิกในสังคมมีความจริงใจต่อกัน ย่อมส่งผลดีต่อสังคมโดยรวม หลักการประพฤติตนเป็นมิตรแท้มี ๔ ประการ ดังนี้ 6.

หลักคุณธรรม จริยธธรรม ศีลธรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ - GotoKnow

รู้คุณค่าในตัวเอง ประการที่สอง ฝึกทำดี ๑. พูดจาปราศรัย ๒. สงเคราะห์ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ๓. ประพฤติตนเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ๔. การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ ๕. รู้จักการบริหารเวลา

อ. ปยุตโต, 2532) เสนอวิธีการที่จะพัฒนาตนไปสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม เรียกว่า "รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาตน" ไว้ 7 ประการ ดังนี้ 1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญาในการวิเคราะห์ พิจารณาในการเลือก เริ่มจากการเลือกคบคนดี เลือกตัวแบบที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลที่มีคุณค่า เรียกว่า ความมีกัลยานมิตร (กัลยานมิตตา) 2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต มีการวางแผนและจัดการกิจการงานต่างๆ อย่างมีระบบระเบียบ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยศีล (ศีลสัมปทา) 3. ถึงพร้อมด้วยแรงจูงใจให้สร้างสรรค์ มีความสนใจ มีความพึงพอใจ มีความต้องการจะสร้างสรรค์กิจการงานใหม่ๆ ที่เป็นความดีงามและมีประโยชน์ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทสัมปทา) 4. มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ ผู้มีความเชื่อในตนว่าสามารถจะพัฒนาได้ จะมีความงอกงามถึงที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า ทำให้ตนให้ถึงพร้อม (อัตตสัมปทา) 5. ปรับเจตคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ ทำให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทำความเห็นความเข้าใจให้ถึงพร้อม (ทิฎฐิสัมปทา) 6. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสำนึกแห่งความไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่าของเวลาและใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท (อัปปมาทสัมปทา) 7.

การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม ๒. การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ความดีนั้น ๓. การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริตไม่ว่าจะด้วยประการใด ๔.

เคส uag huawei p10 plus, 2024