เจดีย์ ใน สมัย อยุธยา ตอน ปลาย

  1. เจดีย์แบบก่อนกรุงศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยา - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

เจดีย์แบบก่อนกรุงศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยา (ราว พ. ศ. ๑๘๐๐-๒๓๑๐) ก่อนราชธานีกรุงศรีอยุธยาราว ๑๐๐ ปี คือ เมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เมืองลพบุรีซึ่งอยู่ในเครือข่ายวัฒนธรรมขอมมาก่อน มีการสร้างเจดีย์ทรงปรางค์อันเป็นแบบอย่างระยะแรก ต่อมา ได้กลายเป็นต้นแบบให้แก่เจดีย์ทรงปรางค์ ช่วงระยะแรกของกรุงศรีอยุธยาที่สถาปนาเป็นราชธานีในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่งตรงกับ พ.

เจดีย์แบบก่อนกรุงศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยา - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

๒๐๓๕ เจดีย์ประธานทรงระฆังในศิลปะอยุธยา มีลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งซึ่งอยู่ใต้ทรงระฆัง คือ มีเส้นนูนคล้ายหวายผ่าซีกคาดอยู่โดยรอบ จำนวน ๓ เส้น โดยซ้อนลดหลั่นกัน เรียกว่า มาลัยเถา และเหนือขึ้นไปก่อนถึงทรงระฆัง เป็นบัวปากระฆัง เจดีย์ทรงระฆังในศิลปะสุโขทัยก็มีบัวปากระฆังเช่นกัน แต่ไม่ได้ทำมาลัยเถา ทำเป็นชุดบัวถลาแทน เจดีย์ทรงสี่เหลี่ยมยกเก็จซึ่งทำให้มีจำนวนมุมเพิ่มขึ้น จึงมักเรียกกันว่า เจดีย์เพิ่มมุม แทนชื่อเดิมที่เคยเรียกกันว่า " เจดีย์ย่อมุม " ตัวอย่างเจดีย์ลักษณะดังกล่าว เช่น เจดีย์ศรีสุริโยทัย ศิลปะอยุธยา สร้างขึ้นราวรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑ (หลัง พ. ๒๐๙๑) อยู่ในวัดร้างชื่อ วัดสวนหลวงสบสวรรค์ แผนผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมของเจดีย์องค์นี้ เป็นลำดับจากส่วนฐานขึ้นไปเรือนธาตุ และทรงระฆัง ส่วนยอดเป็นทรงกรวยกลม เจดีย์ยอดเหนือหลังคาของจัตุรมุข (มุขประจำ ๔ ด้านของเจดีย์) มีมาก่อนแล้ว คือ เจดีย์ทรงระฆัง ๓ องค์ ซึ่งเป็นเจดีย์ประธานของวัดพระศรีสรรเพชญ ปัจจุบัน กรมศิลปากรได้ปรับปรุง และใช้เป็นบริเวณของสำนักงานโครงการนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เจดีย์เพิ่มมุมองค์นี้ คงเป็นแบบอย่างระยะแรก เชื่อว่าเกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑ คือ หลัง พ.

๒๑๒๗ หรือหลังจากนั้น คือ คราวที่ทรงกระทำยุทธหัตถีได้ชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา ของพม่า ใน พ. ๒๑๓๕ เหตุการณ์สำคัญดังกล่าว ทำให้เชื่อว่า เป็นที่มาของการสร้างฐานเจดีย์แบบมอญ-พม่า รองรับเจดีย์ทรงไทย ซึ่งเจดีย์แบบพิเศษนี้ มีอยู่เพียงองค์เดียวในกรุงศรีอยุธยา เจดีย์ประธานวัดภูเขาทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลังจากนั้นต่อมา เจดีย์เพิ่มมุมก็ได้รับการปรับปรุงใหม่อีกครั้ง เรียกว่า เจดีย์สี่เหลี่ยมเพิ่มมุม และกลายเป็นรูปแบบเฉพาะ ของเจดีย์ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ดังตัวอย่างเช่น เจดีย์ที่วัดไชยวัฒนาราม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นใน พ. ๒๑๗๓ และในรัชกาลนี้ เจดีย์แบบกรุงศรีอยุธยาได้รับการปรับเปลี่ยนมาเป็นลำดับ จนมีลักษณะใหม่ คือ ไม่มีทั้งเรือนธาตุและจระนำ นอกจากเจดีย์เพิ่มมุมแบบปกติแล้ว ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังมีเจดีย์เพิ่มมุมแบบพิเศษที่เรียกว่า เจดีย์ทรงเครื่อง เจดีย์ทรงเครื่องสมัยอยุธยาตอนปลายเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก ๒ องค์อยู่เคียงกัน มีขนาดเท่ากัน สร้างไว้เคียงคู่กับเจดีย์เพิ่มมุม ที่วัดภูเขาทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งบูรณะวัดนี้ ราว พ.

ไหว้ พระ ธาตุ พระ นม

พบกับละครวิทยุอิงประวัติศาสตร์ชุด "มหากาพย์แห่งอโยธยา" ภาค "อยุธยามหายุทธ" ทางสถานีวิทยุกองทัพบก FM103MHz. ทุกวัน เวลา 19. 30-20. 00 น.

  • ทำบุญร่วมบูชาวัตถุมงคลพระเครื่อง ของขลัง | หน้า 7 | พลังจิต
  • เลข เด็ด งวด 16 2 62 5
  • รีวิว TAG Heuer Connected สมาร์ทวอทช์รัน Android Wear ที่หรูและแพงสุด ณ เวลานี้ | Blognone
  • เดลต้า เมท ริน กับ ไซ เพ อ ร์ เมท ริน
  • เอกสารประกอบการอบรมอยุธยาสัญจร “ประวัติศาสตร์ และประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยอยุธยา” by สถาบันอยุธยาศึกษาวิชาการ - Issuu
  • 5 คุณสมบัติที่ "เจ้าของธุรกิจ SME" ต้องมี ถ้าอยากประสบความสำเร็จ! | SUMREJ - ประสบความสำเร็จ
1193 ตํา ร ว จ ทางหลวง ราคา ยาง 205 60r16 ทุก ยี่ห้อ

เคส uag huawei p10 plus, 2024